กินไวอากร้าให้ถูกวิธีที่ถูกต้อง! ลองอ่านดูก่อนนะคะ

ไวอากร้า (VIAGRA) ยาปลุกเซ็กส์

การกินไวอากร้าเป็นสิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งคือความรู้ในการกินที่ถูกต้อง เพราะแม้ว่าเราจะเลือกซื้อยาจากร้านไหนก็ตามที่เป็นผู้จ่ายยาให้ หากเรากินยาไม่ถูกวิธี ยาที่เรากินเข้าไปอาจไม่ออกฤทธิ์ ไม่เกิดผลอย่างเต็มประสิทธิภาพ ดังนั้นควรกินยาให้ถูกต้อง ดังนี้การใช้ยารักษาตนเองของคนไทย

กินไวอากร้าให้ถูกวิธีที่ถูกต้อง! ลองอ่านดูก่อนนะคะ

ความรู้ทั่วไปก่อนรับประทานไวอากร้า ให้เกิดผลอย่างเต็มประสิทธิภาพ

  • กินยาไวอากร้าก่อนอาหาร : ควรกินก่อนรับประทานอาหาร 20 – 30 นาที
  • ยาปลุกเซ็กส์ที่ต้องเคี้ยว : ควรเคี้ยวให้ละเอียดก่อนกลืน เพื่อผลลัพธ์การรักษาที่ดีที่สุด
  • กินยาปลุกเซ็กส์ก่อนนอน : ควรกินก่อนเข้านอนเพื่อบำรุง 15 – 30 นาที
  • กินยาปลุกเซ็กส์ก่อนกิจกรรม : ควรกินก่อนกิจกรรม 15 – 30 นาที
  • ถูกคน, ถูกที่, ถูกเวลา : ก่อนกินยาต้องเคลียร์ให้ครบ
  • ดื่มน้ำมาก : ยาปลุกเซ็กส์ควรดื่มน้ำมากเพื่อผลลัพธ์ที่ดีและลดโอกาสของผลข้างเคียง
  • ไม่แบ่ง : ไม่ควรให้คนอื่นกินยาหรือกินยาที่ได้รับจากผู้อื่น
  • ต้องเหมาะสม : ยาต้องเหมาะกับแต่ละบุคคล
  • ตรวจสอบ : ไม่ควรกินยาที่แตก, เปลี่ยนสี, หรือมีกลิ่นผิดปกติ
  • ประจำตัว : ไม่ควรกินยาปลุกเซ็กส์ในรูปแบบที่ดูเสื่อมสภาพหรือมีกลุ่มที่ดูแล้วเสื่อมสภาพ
กินไวอากร้าให้ถูกวิธีที่ถูกต้อง! ลองอ่านดูก่อนนะคะ

วิธีกินให้ตรงตามเวลา

1. ยาก่อนอาหาร

ยาที่รับประทานก่อนอาหาร ควรรับประทานในช่วงที่ท้องว่าง ยังไม่ได้รับประทานอาหาร ซึ่งก็คือก่อนรับประทานอาหารอย่างน้อย 30 นาที ยกเว้นยาควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดบางตัวที่แนะนำให้ทานก่อนอาหารอย่างน้อย 15 นาที

ถ้าลืมรับประทานยาก่อนอาหาร ควรข้ามยามื้อที่ลืมไป แต่ถ้าเป็นยาที่รับประทานก่อนอาหารเพราะยาจะถูกทำลายหรืออาหารอาจลดการดูดซึมของยา

อาจรอให้กระเพาะอาหารว่างก่อนแล้วค่อยรับประทานยาก็ได้ ซึ่งก็คือประมาณ 2 ชั่วโมงหลังรับประทานอาหาร แต่ยาที่ต้องรับประทานในมื้อถัดไปอยู่แล้ว ให้ทานยาก่อนอาหารมื้อถัดไปแทนได้เลย ไม่ต้องทานยาซ้ำ

2. ยาหลังอาหาร

กินยาไวอากร้า หลังอาหาร ควรรับประทานหลังอาหารไม่เกิน 15-30 นาที

ถ้าลืมรับประทานยาหลังอาหาร สามารถรับประทานยาได้ทันทีที่นึกได้และไม่เกิน 15-30 นาที แต่ถ้านึกได้หลังจากรับประทานอาหารมากกว่า 30 นาทีแล้ว ควรรอรับประทานหลังอาหารในมื้อถัดไปแทน หรืออาจรับประทานอาหารมื้อย่อยแทนมื้อหลักก่อนรับประทานยาก็ได้ กรณีที่ยานั้นมีความสำคัญมาก

3. ยาหลังอาหารทันที

ควรรับประทานหลังอาหารทันที อาจทานพร้อมอาหารหรือก่อนรับประทานอาหารคำแรกก็ได้ เนื่องจากยามีผลข้างเคียงที่สำคัญคือ ระคายเคืองต่อระบบทางเดินอาหาร ทำให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน การรับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันทีจะช่วยลดอาการเหล่านี้ได้

ถ้าลืมรับประทานยาหลังอาหารทันที ควรรอรับประทานหลังอาหารในมื้อถัดไปแทน หรืออาจรับประทานอาหารมื้อย่อยแทนมื้อหลักก่อนรับประทานยาก็ได้ กรณีที่ยานั้นมีความสำคัญมาก

4. ยาก่อนนอน

ยาที่แนะนำให้รับประทานก่อนนอนมีหลายประเภท แต่โดยทั่วไป ควรรับประทานก่อนนอน 15-30 นาที ถ้าลืมรับประทานยาก่อนนอน มักนึกได้เมื่อถึงเช้าของวันรุ่งขึ้นแล้ว ไม่ควรรับประทานยานั้นอีก ควรรอให้ถึงเวลาก่อนเข้านอนในคืนถัดไปค่อยรับประทานยานั้น

5. ยารับประทานเวลามีอาการ

ควรรับประทานเมื่อมีอาการ หากไม่มีอาการก็ไม่จำเป็นต้องรับประทานยา ยาในกลุ่มนี้ มักระบุในฉลากว่ารับประทานทุกกี่ชั่วโมงเวลามีอาการ เช่น ทุก 8 ชั่วโมง หรือทุก 12 ชั่วโมง เวลามีอาการ เป็นต้น เมื่อมีอาการสามารถรับประทานยาได้เลย

ไม่ต้องคำนึงถึงมื้ออาหาร เนื่องจากไม่ว่าจะรับประทานอาหารหรือไม่ ก็ไม่ส่งผลต่อการออกฤทธิ์ของยา หลังรับประทานยาแล้วถ้ายังมีอาการอยู่สามารถทานยาซ้ำได้ ตามระยะเวลาที่ระบุไว้ ไม่ควรรับประทานบ่อยกว่าที่ระบุไว้บนฉลาก เมื่อหายแล้วสามารถหยุดยาได้เลย

กินไวอากร้าให้ถูกวิธีที่ถูกต้อง! ลองอ่านดูก่อนนะคะ

ยาที่เรากินเข้าไปรู้ได้อย่างไรว่าต้องไปรักษาที่ไหน?

ยาที่เรากินเข้าไปผ่านปาก ผ่านหลอดอาหาร (ทั้งยาเม็ดและยาน้ำ) นั้น ออกฤทธิ์รักษาถูกจุดได้อย่างไร กลไกในการทำงานของยาที่เข้าสู่ระบบทางเดินอาหารนั้นต่างกับการทำงานของยาที่เราใช้ทาภายนอก

โดยกระบวนการทำงานของยาที่ใช้ทาภายนอกร่างกาย เราสามารถกำหนดจุดที่แน่นอนได้ว่าจะทายาตรงไหน หากเราเป็นแผล เราก็จะใส่ยาบริเวณที่เราเป็นแผล เพื่อให้ฤทธิ์ยาช่วยบรรเทาอาการเจ็บปวดและสมานแผลให้หาย

แต่ยาที่เรานำเข้าสู่ร่างกายโดยการกินไวอากร้า ยาจะเดินทางเข้าสู่ระบบทางเดินอาหาร ในระหว่างเดินทางไปยังกระเพาะอาหารและลำไส้ ยาจะถูกดูดซึมเกือบทุกอวัยวะในระบบทางเดินอาหาร แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ยาแต่ละตัวมีคุณสมบัติทางเคมีต่างกัน

ดังนั้น สมบัติทางเคมีของยาจะเป็นตัวกำหนดว่ายาจะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดที่บริเวณไหนมากกว่ากัน แต่ปกติแล้ว ยาทั่วๆ ไปจะดูดซึมได้ดีและหมดที่กระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก

ยาที่เข้าสู่ร่างกายโดยการกิน ไม่ว่าจะเป็นยาน้ำหรือยาเม็ด ยาจะละลายกลายเป็นโมเลกุลเล็ก ๆ แล้วผสมเข้ากับของเหลวในระบบทางเดินอาหาร จากนั้นบางส่วนจะซึมผ่านผนังของอวัยวะในระบบทางเดินทางอาหารก่อนที่จะเข้าสู่กระแสเลือด

จากนั้นตัวยาจะถูกลำเลียงไปพร้อมกับเลือดเพื่อเข้าสู่ตับ ซึ่งเป็นอวัยวะสำคัญที่เกี่ยวข้องในการเปลี่ยนแปลงของยา

ยาที่ถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด ยาจะกระจายไปตามเส้นเลือดที่แตกแขนงออกไปยังอวัยวะทุกส่วนในร่างกาย ซึ่งส่วนประกอบของเลือดนั้นมีอยู่มากมาย แต่องค์ประกอบสำคัญๆ ได้แก่น้ำและโปรตีน

คุณสมบัติของยาบางตัวจะจับกับโปรตีนที่อยู่ในเลือด ในขณะที่ยาบางตัวมีองค์ประกอบทางเคมีที่ไม่จับกับโปรตีนในเลือด ยาจึงสามารถซึมออกมานอกเส้นเลือด เข้าสู่อวัยวะต่างๆ

กินไวอากร้าให้ถูกวิธีที่ถูกต้อง! ลองอ่านดูก่อนนะคะ

การเปลี่ยนแปลงของการกินไวอากร้า

ยาเข้าสู่ร่างกาย ยาจะไม่คงสภาพอยู่ในรูปเดิมตลอด เนื่องจากคุณสมบัติทางเคมีของยาจะละลายไปผสมกับสารเคมีต่างๆ ในร่างกาย

เมื่อไปเจอกับองค์ประกอบทางเคมีอื่นๆ ในร่างกาย ก็จะทำปฏิกิริยากัน ยาก็จะเปลี่ยนรูปเป็นสารอื่นได้

“ตับ” เป็นอวัยวะที่มีบทบาทมากในการเปลี่ยนแปลงรูปของยา เมื่อยาถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด เลือดก็จะลำเลียงยามาสู่ตับด้วยเช่นเดียวกัน ตัวยาที่ผ่านตับแล้วจะเปลี่ยนสภาพ อาจจะเริ่มหมดฤทธิ์ (เตรียมขับถ่ายออก)

มีฤทธิ์เพิ่มขึ้น หรืออาจแปรสภาพเป็นพิษต่อร่างกายก็ได้เช่นกัน (ดังที่เห็นตามฉลากยาว่า “ไม่ควรกินไวอากร้า ยาตัวนี้เกิน…วัน เพราะจะมีผลต่อการทำงานของตับ” นั่นเอง)

ยาที่แตกตัวแล้วถูกดูดซึมเข้ากระแสะเลือด เปลี่ยนสภาพการออกฤทธิ์แล้ว ยาที่อยู่ปนในน้ำเลือดจะถูกลำเลียงไปทั่วร่างกาย แต่เมื่อเลือดพายามาถึงจุดที่เรามีอาการ (หรือจุดที่ยาต้องออกฤทธิ์) สมบัติทางเคมีในตัวยาจะออกฤทธิ์ในบริเวณที่เรามีอาการ

โดยทำปฏิกิริยากับบริเวณที่มีอาการของร่างกาย ซึ่งจะไประงับหรือยับยั้งอาการป่วยที่ร่างกายแสดงออกมา จากนั้นสมองจะสั่งการให้อาการป่วยที่ว่านั้นดีขึ้น จึงบรรเทาอาการเจ็บป่วยนั้นได้

ยกตัวอย่าง “ยาพาราเซตามอล” ที่หลายคนมักบ่นว่า ไม่ว่าจะไปหาหมอด้วยอาการใด หมอก็จะจ่ายยาพารามาให้เสมอ กลไกการทำงานของยาพาราเซตามอล เมื่อตัวยาถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือด ยาจะไปตอบสนองกับสารจากระบบประสาทส่วนกลาง (สารที่ทำให้เราเกิดอาการปวด)

สารเคมีในยาจะไประงับการทำงานของสารตัวนั้น อาการปวดจึงค่อยๆ ดีขึ้น เป็นเหตุผลว่าไม่ว่าเราจะปวดอะไรก็ตาม ยาพาราจึงเป็นยาที่ถูกจ่ายออกมาบ่อยๆ เพราะมันช่วย “ระงับอาการปวด” แต่ถ้ามีการวินิจฉัยที่ลึกกว่านั้นว่าไม่ใช่อาการปวดธรรมดา ยาพาราก็ไม่มีผลต่อการรักษา

ไวอากร้าpantip กินไวอากร้าให้ถูกวิธีที่ถูกต้อง! ลองอ่านดูก่อนนะคะ

ของที่กินเข้าไปก็ต้องถูกกำจัดออก

กลไกปกติของร่างกาย เมื่อเรากินเข้าไป จะต้องผ่านกระบวนการย่อยสลาย ดูดซึมสารเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ ส่วนกากหรือเศษที่เหลือจะต้องถูกกำจัดออกจากร่างกาย ซึ่งจะออกมาในรูปของของเสียอย่างอุจจาระหรือปัสสาวะ

ยาที่ละลายในน้ำได้ง่ายก็จะไม่เหลือกากในรูปของแข็ง แต่อยู่ในรูปของเหลว แล้วขับออกมาในรูปของปัสสาวะ ยาบางตัวถูกขับออกมาจากตับ ผ่านไปยังลำไส้เล็ก แล้วไปสิ้นสุดที่ลำไส้ใหญ่ (อวัยวะในขั้นตอนสุดท้ายของระบบย่อยอาหาร) แล้วปะปนออกมากับอุจจาระ (ตัวอย่างที่ชัดเจน คือ การกินธาตุเหล็กเสริมหลังบริจาคเลือด ที่ซองยาจะระบุว่ายานี้อาจทำให้อุจจาระเปลี่ยนสี นั่นเป็นหลักฐานว่ายาถูกขับถ่ายออกมากับอุจจาระ)

อย่างไรก็ตาม ต้องไม่ลืมว่ายาเป็นสารเคมี และร่างกายมองว่ายาเป็น “สิ่งแปลกปลอม” ซึ่งปกติแล้วร่างกายเราจะพยายามกำจัดสิ่งแปลกปลอมออก ทำให้สารเคมีของยาบางส่วนอาจถูกกำจัดไปก่อนที่จะได้ออกฤทธิ์รักษา จึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับแพทย์ที่จ่ายยาต้องคำนวณปริมาณยาให้ถูกต้อง

โดยมีปัจจัย เช่น อายุ น้ำหนักตัว เพื่อให้ฤทธิ์ยาที่กินเข้าไปสามารถเดินทางไปถึงตับ และส่งไปยังส่วนที่ร่างกายจำเป็นต้องใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ