ยานอนหลับ แบบไหนดี วิธีการรักษายังไง

ไวอากร้า (VIAGRA) ยาปลุกเซ็กส์

แนวทางการรักษาภาวะนอนไม่หลับ ยานอนหลับ สามารถช่วยได้ไหม

ถ้าพูดถึงปัญหา โรคนอนไม่หลับ “Insomnia” หลายคนน่าจะพุ่งเป้าการรักษาไปที่การทานยานอนหลับ!

เพราะฉะนั้น หากเราบอกกับคุณว่า จริงๆ แล้ว “ยานอนหลับ” ไม่ใช่ทางออกที่ดีที่สุด

ก็อาจทำให้หลายคนคัดค้านในใจ แต่นี่คือแนวทางในการรักษาโรคนอนไม่หลับ

ยานอนหลับ แนวทางการรักษาภาวะนอนไม่หลับ ประกอบด้วย การรักษาโดยไม่ใช้ยาและการรักษาโดยใช้ยา

สารบัญ

โรคนอนไม่หลับคือ

หลับยากมานานแค่ไหนถึงควรพบแพทย์ โรคนอนไม่หลับ (Insomnia) จะแบ่งเป็น 2 แบบใหญ่ๆ คือ Acute และ Chronic ซึ่ง Acute เป็นการนอนไม่หลับในช่วงระยะสั้นๆ เกิดขึ้นประมาณ 1-2 ครั้งต่อสัปดาห์ ติดต่อกันไม่เกิน 3 เดือน ส่วน Chronic จะเป็นการนอนไม่หลับแบบเรื้อรัง คือ เกิดขึ้นมากกว่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์ขึ้นไป และต่อเนื่องมากกว่า 3 เดือนขึ้นไป โดยส่วนใหญ่ในช่วงแรก หลายคนจะเริ่มจากขั้น Acute ก่อน ซึ่งถ้ารู้สึกว่ายังควบคุมได้ ไม่กระทบชีวิตประจำวัน ก็ยังไม่จําเป็นต้องไปพบแพทย์ แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่การนอนไม่หลับเริ่มส่งผลกับชีวิตประจําวัน ไม่ว่าจะเป็น การปวดศีรษะ หงุดหงิดง่าย ไม่มีสมาธิ ทํางานไม่มีประสิทธิภาพ แบบนี้ควรไปพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุและแก้ไขตั้งแต่เนิ่นๆ เพราะถ้าปล่อยให้เวลาเรื้อรังจนถึงขั้น Chronic ปัญหาการนอนไม่หลับจะส่งผลกระทบต่อทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตได้

เพราะสาเหตุอะไรที่ทำให้เกิดปัญหา “นอนไม่หลับ”

อาการนอนไม่หลับอาจมีสาเหตุมาจากโรคอื่นๆ ได้เหมือนกัน เช่น โรคที่ส่งผลให้หายใจไม่สะดวกอย่างโรคปอด หรือโรคกรดไหลย้อนที่ทําให้ไม่สบายท้องเวลานอน รวมถึงภาวะหยุดหายใจขณะหลับ (Obstructive Sleep Apnea) ที่ผู้ป่วยมักจะสะดุ้งตื่นขึ้นมาในเวลากลางคืน แต่สำหรับอาการนอนไม่หลับที่เกิดจาก “โรคนอนไม่หลับ” โดยตรง มีสาเหตุมาจาก 3 ปัจจัยหลักๆ คือสภาวะทางอารมณ์ บางทีอยากมีเซ็กส์ก่อนนอน  ไม่ว่าจะเป็น ความเครียด วิตกกังวล หรือซึมเศร้าความสมดุลของฮอร์โมน เนื่องจากร่างกายมีความผิดปกติ อาจจะมีการผลิตฮอร์โมนบางชนิดมากหรือน้อยกว่าปกติ

แนวทางการรักษา

  • การรักษาโดยไม่ใช้ยา (Non-pharmacologic treatment) เป็นการรักษาหลักสำหรับภาวะนอนไม่หลับ ประกอบไปด้วย
  1. การปรับให้มีสุขอนามัยการนอนที่ดี (Good sleep hygiene)  เป็นการรักษาที่สำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นพื้นฐานของการรักษาภาวะของโรคนี้ในผู้ป่วยทุกราย การมีสุขอนามัยการนอนที่ดี
  2. ทำได้โดยการปรับสภาพแวดล้อมในห้องนอนให้เหมาะสมต่อการนอนหลับ และนำหลักของการเหนี่ยวนำให้เกิดอาการง่วงนอนตามธรรมชาติมาใช้ เช่น การออกกำลังกายอย่างพอเหมาะในช่วงเย็นเพื่อให้เหนื่อยเพลีย ซึ่งเป็นการเพิ่มแรงผลักดันของระบบ Homeostasis ให้มากขึ้น หรือการเข้านอนให้เป็นเวลาและปิดไฟในห้องนอนให้มืดสนิท เพื่อช่วยให้ระบบ Circadian rhythm
  3. ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นโดยไม่ถูกรบกวนจากปัจจัยภายนอก เป็นต้น ข้อมูลของการปรับสภาพแวดล้อมและสมดุลของร่างกายให้เหมาะสมกับการนอนหลับได้แสดงไว้แล้วในตารางที่ 1
  4. การฝึกเทคนิคการผ่อนคลาย (Progressive relaxation training) ซึ่งช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อเพื่อทำให้นอนหลับได้ดียิ่งขึ้น
  5. การรักษาด้วยความคิดและพฤติกรรมบำบัด (Cognitive-Behavioral therapy) โดยเน้นที่การปรับความคิดเพื่อนำไปสู่การปรับพฤติกรรมและอารมณ์ การรักษาวิธีนี้ได้ประโยชน์มากสำหรับผู้ที่ปัญหาที่เกิดร่วมกับโรคทางอารมณ์และกลุ่มโรควิตกกังวล
  6. การควบคุมปัจจัยกระตุ้น (Stimulus control)
  7. การจำกัดชั่วโมงในการนอน (Sleep restriction) สำหรับรายที่มีอาการรุนแรงหรือมีโรคประจำตัวอื่น ๆ ร่วมด้วย แพทย์จะให้การรักษาด้วยการปรับสุขอนามัยการนอนและการรักษาโดยการไม่ใช้ยา วิธีอื่น ๆ ร่วมไปกับการรักษาด้วยยา จะได้กล่าวต่อไป

ตารางที่ 1: การปรับสภาพแวดล้อมและสมดุลของร่างกายให้เหมาะสมกับการนอนหลับ

  • การรักษาด้วยการใช้ยา (Pharmacologic treatment)

การรักษาด้วยยาเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายในสังคม ยาเหล่านี้มักถูกเรียกว่า “ยานอนหลับ” ไม่ใช่ยาเสียสาวนะคะ แต่แท้จริงแล้วยานอนหลับไม่ได้หมายถึงยาชนิดใดชนิดหนึ่ง แต่เป็นชื่อที่ใช้เรียกกลุ่มของยาหลากหลายชนิดที่มีผลโดยตรงหรือมีผลข้างเคียงทำให้เกิดอาการง่วงและทำให้นอนหลับได้ง่ายขึ้น ดังนั้นยานอนหลับจึงมีหลายชนิดมีกลไกการออกฤทธิ์และผลข้างเคียงที่แตกต่างกันไป สำหรับยานอนหลับที่ออกฤทธิ์โดยตรงต่อสมองคือ กลุ่มยาเบนโซไดอะซีปีน (Benzodiazepines)  หรือ ยาปลุกเซ็กส์หญิง โดยออกฤทธิ์เพิ่มการทำงานของสารสื่อประสาทชนิดยับยั้งที่เรียกว่า ‘กาบา (GABA)’ ในสมอง เมื่อมีสารนี้เพิ่มขึ้นจะทำให้เกิดอาการนอนหลับโดยตรงนอกจากนี้ยังมีฤทธิ์ช่วยคลายกังวล หยุดอาการชัก และคลายกล้ามเนื้อได้อีกด้วย อย่างไรก็ตามยากลุ่มนี้มีผลข้างเคียงมาก เพราะยาส่วนใหญ่ออกฤทธิ์ยาวนานกว่าการนอนหลับปกติของคนเราทำให้ผู้ที่รับประทานยารู้สึกง่วงนอน สะลึมสะลือในตอนเช้า ทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานลดลงและเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ นอกจากนี้ถ้าใช้ยากลุ่มนี้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำให้เกิดอาการติดยาและทำให้สมองดื้อยาลดการตอบสนองต่อยา ทำให้ปริมาณยาที่ใช้ในขนาดเดิมไม่ได้ผล ต้องใช้ขนาดยาสูงขึ้นเพื่อให้ได้ผลการตอบสนองเท่าเดิมเป็นการเพิ่มความเสี่ยงที่จะเกิดผลข้างเคียงจากยาได้มากยิ่งขึ้น และมีโอกาสที่จะติดยาได้มากขึ้นด้วย นอกจากนี้ถ้าหยุดยากลุ่มเบนโซไดอะซีปีนอย่างทันทีทันใดหลังจากการรับประทานต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลานาน จะมีความเสี่ยงต่อการเกิด ‘อาการขาดยา’ เช่น มือสั่น ใจสั่น ซึมเศร้า และอาจทำให้เกิดอาการชักได้ยากลุ่มแรกที่นิยมใช้เพื่อทำให้เกิดอาการง่วง ได้แก่ ยาลดน้ำมูกในกลุ่มยาแอนตี้ฮิสตามีน (Antihistamine)เนื่องจากยากลุ่มนี้มีผลข้างเคียงคือ ทำให้เกิดอาการง่วง แต่ผลดังกล่าวมักจะไม่มากและความรู้สึกง่วงนอนของแต่ละคนก็แตกต่างกันอีกด้วย สำหรับยานอนหลับกลุ่มอื่นมักจะเป็นกลุ่มยาที่ใช้สำหรับรักษาโรคทางระบบประสาทหรือโรคทางจิตเวชเป็นหลัก เช่น กลุ่มยารักษาโรคซึมเศร้า (Antidepressants) ยาเหล่านี้มักมีผลข้างเคียงมาก จึงใช้เฉพาะผู้ที่มีอาการจากโรคทางระบบประสาทหรือโรคทางจิตเวชเท่านั้น

ปัจจุบันมีการนำเมลาโทนิน 

ซึ่งเป็นฮอร์โมนตามธรรมชาติที่ช่วยส่งเสริมการนอนหลับมาใช้ในการรักษา พบว่าได้ผลดีในภาวะที่เกิดจากการเดินทางข้ามเส้นแบ่งเขตเวลาหรือ ที่รู้จักกันในชื่อว่า Jet lag หรือในรายที่ต้องทำงานเป็นกะ แต่ประสิทธิภาพในการรักษาภาวะโดยตรงยังไม่ชัดเจนและยังขาดข้อมูลการศึกษาผลของการใช้ยานี้ในระยะยาวดังนั้นการรักษาด้วยการใช้ยานอนหลับจึงควรเลือกใช้เฉพาะรายที่จำเป็นเท่านั้น และควรเริ่มใช้ขนาดยาที่ต่ำที่สุด ใช้ยาให้น้อยครั้งที่สุด และไม่ควรใช้ยาติดต่อกันเป็นระยะเวลานานทั้งนี้เพื่อลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดผลอันไม่พึงประสงค์จากยาโดยเฉพาะอย่างยิ่งโอกาสเสี่ยงต่อการเสียชีวิตหรือการเกิดมะเร็งจากการใช้ยานอนหลับ ไม่ว่าจะใช้ปริมาณยานอนหลับมากหรือน้อยเพียงใดก็ตามก็ทำให้เกิดความเสี่ยงเพิ่มขึ้นโดยสรุปอาการนี้เป็นปัญหาสุขภาพที่พบได้บ่อยทั้งในคนปกติและคนที่มีโรคประจำตัวนอกจากนี้อาการอาจบ่งบอกถึงอาการของโรคสมองและระบบประสาทได้ ความเข้าใจกลไกการนอนของมนุษย์จึงมีผลต่อการรักษา การวินิจฉัย และหาสาเหตุนั้นแพทย์จำเป็นต้องได้รับข้อมูลประวัติการนอนหลับที่ละเอียด รวมถึงประวัติการเจ็บป่วยที่เกี่ยวข้องการตรวจการนอนหลับด้วยเครื่อง Polysomnography อาจจำเป็นสำหรับผู้ป่วยบางรายที่ยังหาสาเหตุการนอนหลับไม่ได้ชัดเจน หรือผู้ที่อาการยังไม่ดีขึ้น ทั้งที่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม การรักษาหลักที่ใช้รักษา คือ การปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการนอน การรักษาด้วยยานอนหลับจะใช้เฉพาะผู้ที่มีอาการเรื้อรังหรือมีปัญหาโรคประจำตัวอื่นร่วมด้วยเท่านั้น

ผลต่อการนอนหลับ

เช่น มี DHEA หรือฮอร์โมนความสุขต่ำเกินไป, มี Cortisol หรือฮอร์โมนความเครียดสูงเกินไป สภาพแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็น สภาพแวดล้อมภายในห้องนอน หรือพฤติกรรมต่างๆ อย่างการชอบเล่นมือถือก่อนนอน ที่อาจจะทําให้แสงสีฟ้าเข้าไปยับยั้งการหลั่ง Melatonin ในร่างกาย ส่งผลให้เรานอนหลับได้ยากขึ้น

ตรวจให้ชัวร์…เช็กให้ละเอียด ด้วยวิธีการเหล่านี้!

การตรวจคัดกรองนั้น เริ่มตั้งแต่การพูดคุยสอบถามอาการเบื้องต้น ไปจนถึงการตรวจเลือดและตรวจปัสสาวะเพื่อเช็กระดับฮอร์โมนและค่าต่างๆ ซึ่งในขั้นตอนแรกนั้น ต้องวินิจฉัยก่อนว่า “โรคนอนไม่หลับ” ที่เราเป็น มีสาเหตุมาจากตัวโรคเอง หรือมีสาเหตุมาจากโรคอื่นๆ ซึ่งถ้าไม่ได้มีสาเหตุมาจากโรคอื่นๆ ก็เป็นการตรวจดูในเรื่องสภาวะทางอารมณ์, ความสมดุลของฮอร์โมน รวมถึงปัจจัยอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็น อาหารการกิน การออกกําลังกาย และพฤติกรรมที่มักทำบ่อยๆ ก่อนเข้านอน

เช็กต้นเหตุนอนไม่หลับ ตรวจฮอร์โมนอะไร

ในการตรวจระดับฮอร์โมนนั้น หลักๆ แพทย์จะทําการเจาะเลือดเพื่อตรวจฮอร์โมน DHEA และ Cortisol ซึ่งเป็นฮอร์โมนเกี่ยวกับด้านอารมณ์ รวมไปถึง Growth Hormone ซึ่งหากอยู่ในระดับปริมาณที่ไม่พอดี ก็สามารถส่งผลต่อการนอนได้เช่นกัน ไม่เพียงตรวจฮอร์โมน แต่แพทย์ยังทำการตรวจระดับวิตามินในร่างกาย โดยการตรวจปัสสาวะซึ่งถ้าพบว่าอยู่ในระดับที่มากหรือน้อยจนเกินไป ก็อาจจะต้องมีการให้วิตามินหรืออาหารเสริมบางประเภท เช่น Magnesium, GABA, Vitamin B6, L-Tryptophan หรือ Melatonin ที่เป็นสารตั้งต้นตัวสําคัญที่จะช่วยให้การนอนหลับของเราดีขึ้น

ใช้ยานอนหลับเป็นตัวช่วย…ดีหรือไม่ดีกันแน่

การรักษาอาการนอนไม่หลับโดยการใช้ยานอนหลับ…อาจไม่ใช่เรื่องต้องห้ามซะทีเดียว! เพียงแต่ไม่ควรใช้ยานอนหลับติดต่อกันเกิน 1-3 เดือน เพราะเมื่อหยุดยาจะทำให้การนอนหลับยากยิ่งขึ้น หากต้องการหยุดหรือปรับยานอนหลับ ควรปรึกษาแพทย์ทุกครั้ง และสิ่งที่สำคัญกว่า…คือการตรวจหาสาเหตุของการนอนไม่หลับ เพื่อนำไปสู่แนวทางการรักษาที่ตรงจุด ปรับพฤติกรรม! หัวใจสำคัญที่ควรทำควบคู่การรักษา ในการรักษาอาการนอนไม่หลับนั้น มักเน้นไปที่การปรับพฤติกรรมควบคู่ไปกับการปรับเรื่องฮอร์โมนในรายที่มีความผิดปกติ เช่น ระดับฮอร์โมนขาดความสมดุลเพราะเกิดจากความอ้วน ก็ต้องมาดูเรื่องการคุมน้ำหนัก เรื่องอินซูลิน เรื่องการคุมอาหาร ซึ่งในเรื่องของอาหารนั้นถือว่าเป็นสิ่งสำคัญ เพราะสามารถส่งผลต่อคุณภาพการนอนได้ค่อนข้างมากเลยทีเดียว โดยพฤติกรรมที่ต้องปรับเพื่อรักษาโรคนอนไม่หลับ คือ ควรเว้นการทานอาหารอย่างน้อย 3 ชั่วโมง งดชา กาแฟ หรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน อย่างน้อย 6 ชั่วโมง ก่อนเข้านอน และควรงดอาหารรสจัด เพราะจะกระตุ้นการหลั่งของสารสื่อประสาทที่ทําให้เราตื่นตัว และนอนหลับยากมากขึ้น สำหรับการออกกำลังกายที่หลายคนเข้าใจว่าการออกกำลังกายหนักๆ จะทำให้หลับสบายขึ้นนั้น ก็อาจไม่ถูกต้องทั้งหมด! เพราะหลังออกกำลังกาย…สมองจะอยู่ในภาวะตื่นตัว มีการหลั่งอะดรีนาลีน ส่งผลให้หลับยากขึ้น จึงควรงดออกกำลังกายอย่างน้อย 3 ชั่วโมงก่อนเข้านอน หรือปรับเวลาไปออกกำลังกายในตอนเช้าจะดีที่สุด ไม่อยากเผชิญ “โรคนอนไม่หลับ” คุณเองก็ป้องกันได้! การป้องกันตนเองจากโรคนอนไม่หลับนั้น เริ่มจากการปรับพฤติกรรม เช่น การรักษาสมดุลฮอร์โมน DHEA ที่ร่างกายสามารถสร้างขึ้นได้เองจากการใช้สมาธิ อย่าง การสวดมนต์ อ่านหนังสือ หรือฟังเพลงเบาๆ นอกจากนี้ ก่อนนอนควรปรับไฟ ปรับอุณหภูมิในห้องให้เหมาะกับการนอน คือ ไม่เกิน 27 องศาเซลเซียส รวมทั้งการใช้กลิ่นสารสกัดจากธรรมชาติมาเป็นตัวช่วยให้ร่างกายรู้สึกผ่อนคลาย และที่สำคัญ…คือไม่ควรปล่อยให้สมองอยู่ในภาวะเครียดช่วงก่อนเข้านอน ขอบคุณข้อมูล bangkokinternationalhospital